สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
www.postharvest.mju.ac.th

  

Postharvest technology

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 

สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

อาจารย์ และเจ้าหน้าที่

งานวิจัย เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

บริการชาการ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

เกี่ยวกับสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

  1.การคัดและบรรจุผัก

  2.การคัดและบรรจุผลไม้

  3.ยกระดับเมล็ดพืชและเมล็ดพันธุ์

  4.การยืดอายุดอกไม้

  5.การวิเคราะห์และทดสอบ

  6.เครื่องมือวิทยาศาสตร์และครุภัณฑ์

7.โรงคัดบรรจุผลิตผลเกษตรอินทรีย์

  8.กิจกรรมนักศึกษา

รวม ข่าวกิจกรรมทั้งหมดของสาขาฯ

ประชาสัมพันธ์หลักสูตร

ข่าวและเทคโนโลยีศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

ศิษย์เก่าpostharvest mju alumni

นักศึกษา postharvest mju student

*เอกสารเผยแพร่ ภาคโพสเตอร์

*คู่มือการเขียนรายงาน สหกิจศึกษา

ติดดต่อเรา

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

ยินดีต้อนรับนักศึกษาใหม่ สาขาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว/ปี 2567
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร กำหนดดำเนินกิจกรรมปฐมนิเทศ นักศึกษาประจำปีการศึกษา 2567 ในวันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน 2567 ณ ห้อง E 101 ชั้น 1 อาคารเรียนรวมสาขา วิศวกรรมศาสตร์11.00 12.00 น. ลงทะเบียน ณ บริเวณหน้าห้อง E 10112.00 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน13.00 14.00 น. คณบดีกล่าวต้อนรับ และให้โอวาทแก่นักศึกษาใหม่- แนะนำประธานอาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี หรือผู้แทน- คณบดี ประธานฯหลักสูตร คณาจารย์ ร่วมผูกข้อมือรับขวัญ นักศึกษาใหม่14.00 16.00 น. นักศึกษาพบอาจารย์ที่ปรึกษา ตามสาขาวิชา- สาขาวิศวกรรมเกษตร ชั้น 2 ห้อง E212- สาขาวิศวกรรมอาหาร ชั้น 1 ห้อง E117- สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ชั้น 1 ห้อง E101- สาขาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ชั้น 1 ห้อง E122- สาขาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ ชั้น 1 ห้อง E123
21 มิถุนายน 2567
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565
สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลการเรียนรู้ของหลักสูตร พ.ศ. 25601.สามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลเกษตรได้2.สามารถแสดงออกถึงการคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในระหว่างการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม3.สามารถนำองค์ความรู้พื้นฐานที่ได้รับ ไปต่อยอดเพื่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้4.สามารถนำองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งประมาณร้อยละ 70 เป็นการจัดการในส่วนกลางน้ำตามห่วงโซ่การผลิตผลอาหารไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม5.สามารถแสดงออกถึงความรับผิดชอบ การมีคุณธรรมและจริยธรรมต่อวิชาชีพ รวมทั้งสังคม และประเทศชาติผลการเรียนรู้ของหลักสูตร พ.ศ. 25651.อธิบายองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลเกษตรได้2.คิดวิเคราะห์ วางแผนและแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบในระหว่างการปฏิบัติงานได้3.นำองค์ความรู้และแนวความคิดทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวที่ได้รับไปต่อยอดและประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้4.สามารถทำงานเป็นทีมและนำเสนอข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวได้5.มีความรับผิดชอบและทราบถึงจริยธรรมทางเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565ชื่อสถาบันอุดมศึกษา               มหาวิทยาลัยแม่โจ้วิทยาเขต/คณะ                     คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตรรหัสหลักสูตร 25490131103081ชื่อหลักสูตรภาษาไทย        : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวภาษาอังกฤษ     :Bachelor of Science Program in Postharvest Technologyชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม ภาษาไทยวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว)ชื่อย่อ ภาษาไทยวท.บ (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว)ชื่อเต็ม ภาษาอังกฤษBachelor of Science (Postharvest Technology)ชื่อย่อ ภาษาอังกฤษ B.S. (Postharvest Technology)      วิชาเอกไม่มีจำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร120 หน่วยกิตรูปแบบของหลักสูตรรูปแบบ:หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปีทางวิชาการ ภาษาที่ใช้: หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)การรับเข้าศึกษา:รับเฉพาะนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาไทย ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น: เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรงการให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา: ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาเห็นชอบอนุมัติหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการ เก็บเกี่ยว (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2565คณะกรรมการด้านวิชาการ เห็นชอบหลักสูตรและให้นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 2/2565  เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2565คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เห็นชอบให้เสนอต่อคณะกรรมการสภาวิชาการในการประชุมครั้งที่ 3/2565  เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565คณะกรรมการสภาวิชาการ เห็นชอบให้เสนอต่อสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 4/2565  เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2565สภามหาวิทยาลัย ให้ความเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 3/2565  เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2565       7ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552  ในปีการศึกษา 2567อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษางานด้านวิชาการ งานด้านวิจัย งานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ งานด้านการเกษตร งานด้านคอมพิวเตอร์ งานด้านสังคมศาสตร์ งานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของภาครัฐ และภาคเอกชน และการประกอบอาชีพอิสระ ได้แก่ ผู้ประกอบการจัดจำหน่ายผลิตผลสดทางการเกษตร พนักงานฝ่ายผลิต พนักงานฝ่ายควบคุมและตรวจสอบคุณภาพผลิตผลเกษตร พนักงานฝ่ายการตลาดและจัดส่งสินค้า นักวิชาการเกษตร นักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์สถานที่จัดการเรียนการสอน10.1  อาคารเรียนรวมต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้10.2  อาคารพนม สมิตานนท์ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร10.3  อาคารคัดบรรจุผลิตผลเกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตรเอกสารเพิ่มเติม1.มคอ 2 (2560)2.มคอ 2 (2565)
5 มิถุนายน 2567
ข่าวมหาวิทยาลัยแม่โจ้